หารือความร่วมมือวิจัยหุ่นยนต์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

หารือความร่วมมือวิจัยหุ่นยนต์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

หารือความร่วมมือวิจัยหุ่นยนต์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง   ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัย South Florida (USF) หารือความร่วมมือวิจัยหุ่นยนต์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ณ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2567 ศาสตราจารย์ Dr.Redwan Alqasemi นักวิจัยจากศูนย์ Center for Assistive, Rehabilitation & Robotics Technologies ได้เดินทางมาเยี่ยมชมภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหารือโครงการวิจัยที่มีความสำคัญทางวิชาการร่วมกัน โดยมี รศ.ดร.นภดนัย อาชวาคม รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศ.ดร.ไพโรจน์ สิงหถนัดกิจ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล, รศ. ดร.พงศ์แสน พิทักษ์วัชระ,  รศ. ดร.รัชทิน จันทร์เจริญ , รศ .ดร.รณพีร์ ชัยเชาวรัตน์ และ อาจารย์ ดร.ศรัณย์ กีรติหัตถยากร ให้การตอบรับ การประชุมครั้งนี้มุ่งเน้นหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอภิปรายข้อเสนอโครงการวิจัยร่วมกันภายใต้โครงการ “Collaborative Remote Rehabilitation…

Kyushu Institute of Technology

Kyushu Institute of Technology

Kyushu Institute of Technology   The MEXT scholarship for admission in October 2025 is now accepting applications.  Scholarship1.master course students Grant: 144,000 yen per month2.Doctoral course students Grant: 145,000 yen per month Free for tuition fee, admission fees, Support the round-trip air ticket to Japan.Research field of studyThe School of Computer Science and System Engineering, especially…

ทศวรรษแห่งความร่วมมือด้าน Smart Mobility

ทศวรรษแห่งความร่วมมือด้าน Smart Mobility

                                ทศวรรษแห่งความร่วมมือด้าน Smart Mobility   เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2567 ณ ห้อง 209 ตึก 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์ Smart Mobility Research Center จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศูนย์วิจัย GREMO มหาวิทยาลัยนาโกย่า ได้ร่วมกันจัดการประชุม Mini Symposium ภายใต้หัวข้อ “ทศวรรษแห่งความร่วมมือด้าน Smart Mobility”  โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย…

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2566 วันที่ 3 ตุลาคม และ 4 ตุลาคม 2567

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2566 วันที่ 3 ตุลาคม และ 4 ตุลาคม 2567

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2566วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม 2567 และ วันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม 2567          ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตทุกท่าน

กำหนดการรับพระราชทานปริญญาบัตรบัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566

กำหนดการรับพระราชทานปริญญาบัตรบัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566

กำหนดการรับพระราชทานปริญญาบัตรบัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566วันฝึกซ้อมและวันถ่ายภาพหมู่บัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์รายละเอียดเพิ่มเติม     https://www.chula.ac.th/news/175089 สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2566กิจการนิสิต คณะวิศวฯ จุฬาฯ  : thasusaroj@gmail.com

คณะครูและนักเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เยี่ยมชมภาควิชาฯ

คณะครูและนักเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เยี่ยมชมภาควิชาฯ

เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 5 กันยายน 2567 คณะครูและนักเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย  นนทบุรี นำนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 4 และปีที่ 6 เข้าเยี่ยมชมภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล 

รับมอบทุนสนับสนุนจาก มูลนิธิกลุ่มอีซูซุ (มูลนิธิ) “กองทุนวิจัยวิศวกรรมศาสตร์จุฬาฯ – อีซูซุ”

รับมอบทุนสนับสนุนจาก มูลนิธิกลุ่มอีซูซุ (มูลนิธิ) “กองทุนวิจัยวิศวกรรมศาสตร์จุฬาฯ – อีซูซุ”

วันพุธ ที่ 4 กันยายน 2567 เวลา 15.00น. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ โดย รศ.ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ คณบดี พร้อมด้วย รศ. ดร.เสวกชัย ตั้งอร่ามวงศ์ รองคณบดี รศ.ดร.อังคีร์ ศรีภากร ห้วหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล และ ผศ.ดร.นักสิทธ์ นุ่มวงษ์ รับมอบทุนสนับสนุนจาก มูลนิธิกลุ่มอีซูซุ (มูลนิธิ) “กองทุนวิจัยวิศวกรรมศาสตร์จุฬาฯ – อีซูซุ” ( CU-Engineering Research Fund ) สำหรับคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปี 2024 โดยคณะผู้บริหารมูลนิธิกลุ่มอีซูซุ1. Mr. Takashi Hata, President2. Ms. Panatda Chennavasin, Chief Executive Advisor3. Mr. Vichai Sinananpat, Director4. Ms. Thunsuda…

โครงการสนับสนุนนักศึกษาชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัยโตเกียวได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานในต่างประเทศ

โครงการสนับสนุนนักศึกษาชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัยโตเกียวได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานในต่างประเทศ

เมื่อวันที่ 28 ส.ค.67 บริษัท ไดกิ้น อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย)จำกัด จัดโครงการสนับสนุนนักศึกษาชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัยโตเกียวได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานในต่างประเทศ โดยหนึ่งในกิจกรรมที่จัดคือการให้นักศึกษาชาวญี่ปุ่นได้พูดคุยแลกเปลี่ยนและสำรวจแนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เครื่องปรับอากาศในอนาคต กับนักศึกษาไทยพร้อมทั้งแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในด้านต่างๆด้วย ซึ่งโดยความร่วมมือของ รศ.ดร.ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ